Panyachon

Study English

วันจันทร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2552

ประวัติและความเป็นมาหมู่บ้านนายาว

ประวัติ
ชุมชน บ้านนายาว จัดตั้งครั้งแรกเมื่อประมาณ พ.ศ.2525 โดยประชาชนที่อพยพถิ่นฐานมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อหาพื้นที่ทำกิน โดยอาศัยเขตพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ เนื่องจากเป็นพื้นที่ป่าที่อุดมสมบูรณ์และค่อนข้างห่างไกลความเจริญ เหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม จึงทำให้ผู้ที่มาอาศัยอยู่ก่อนได้ชักชวนญาติพี่น้องและเพื่อนบ้านในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือให้ย้ายถิ่นฐานมาเพื่อหาพื้นที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จึงทำให้เกิดชุมชนบ้านนายาวขึ้นมา ได้มีการจัดตั้ง หมู่บ้านและเลือกผู้นำหมู่บ้าน แต่เนื่องจากพื้นที่ที่ชุมชนตั้งอยู่เป็นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ และเป็นพื้นที่ที่ครอบครองโดยนายทุนอยู่ก่อน จึงทำให้การตั้งชุมชนบ้านนายาวในระยะเริ่มแรกมีปัญหา และมีการประทุษร้าย และทำร้ายกันบ่อยครั้ง กอปรกับผู้ที่อพยพมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วนคืออดีตสมาชิกพรรค คอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย จึงทำให้ชุมชนบ้านนายาวระยะเริ่มแรกมีความแตกต่างทางด้านความคิด ตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) คือหน่วยงานราชการหน่วยแรกที่เข้ามาปฏิบัติงานในชุมชนบ้านนายาวด้วยเหตุผล ด้านความมั่นคง และได้จัดตั้งโรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดนขึ้นเพื่อให้การศึกษากับเด็กที่อยู่ในชุมชน เนื่องจากเด็กมีจำนวนมากไม่มีสถานที่เรียนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ก่อสร้างอาคารเรียน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จทรงเยี่ยมและติดตามผลการดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริในโรงเรียน ตชด.บ้านนายาว ได้พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างอาคารเรียน และรับเอาหมู่บ้านนายาวเป็นหมู่บ้านโครงการตามพระราชดำริ ทรงเสด็จติดตามผลการดำเนินงานโครงการในชุมชนบ้านนายาวบ่อยครั้ง ยังความปลาบปลื้มและภูมิใจให้กับคนในชุมชนบ้านนายาวเป็นอย่างยิ่ง


ที่ตั้ง
ชุมชนบ้านนายาว ตั้งอยู่ในพื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร (สปก.) ในเขตตำบลท่ากระดาน อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
พื้นที่ ตั้งเป็นสภาพป่าเสื่อมโทรม ลักษณะเป็นที่ราบลูกฟูก มีคลองขนาดเล็กไหลผ่าน ดินเป็นดินร่วนปนทราย และดินลูกรัง ช่วงฤดูฝนมีน้ำไหลบ่าและท่วมขัง ฤดูแล้งค่อนข้างขาดแคลนน้ำอุปโภคและบริโภค ทางสัญจรเป็นถนนลาดยางสลับถนนลูกรังบางส่วน สามารถเข้าออกได้ทุกฤดูกาล แต่ค่อนข้างลำบากในฤดูฝน ระยะห่างจาก อำเภอสนามชัยเขต 60 กิโลเมตร ห่างจาก จังหวัดฉะเชิงเทรา 120 กิโลเมตร

ประชากร
ชุมชนบ้านนายาว มีประชากรประมาณ 7,467 คน จำนวน 1,770 ครัวเรือน แบ่งการปกครองออกเป็นคุ้ม จำนวน 29 คุ้ม ภาษาที่ใช้ร้อยละ 90 คือภาษาถิ่นอีสาน

อาชีพ
ประชากร ชุมชนบ้านนายาว ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ค้าขาย และรับจ้างเป็นอาชีพหลัก และมีการจัดตั้งกลุ่มเพื่อการพัฒนาอาชีพ เช่น กลุ่มสหกรณ์การเกษตรบ้านนายาว กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า กลุ่มทอเสื่อกก กลุ่มเลี้ยงโค กลุ่มเกษตรกรแม่บ้านนายาวสามัคคี แปรรูปผลิตภัณฑ์ เช่น น้ำยาล้างจาน ยาสระผม ยาหม่อง เต้าเจี้ยว ฯลฯ ผลผลิตจากกลุ่มเหล่านี้นำออกจำหน่ายในชุมชน และส่งร้านภูฟ้า สำนักพระราชวังสวนจิตรลดา กรุงเทพ

ศาสนา ศิลปะ ภูมิปัญญา ประเพณีและวัฒนธรรม
ประชาชน นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99 และคริสต์ ร้อยละ 1 ศิลปะ ประเพณีและวัฒนธรรม เป็นสิ่งที่สืบทอดมาจากท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ประเพณีสู่ขวัญแขกผู้มาเยือน(ผูกแขน) ประเพณีบุญบั้งไฟ ประเพณีบุญผะเหวด(เทศน์มหาชาติ) ประเพณีการทำขวัญข้าว ด้านภูมิปัญญา ชุมชนบ้านนายาวมีผู้นำด้านภูมิปัญญาที่หลากหลาย ทั้งด้านศิลปะการแสดงหมอลำ ดนตรีพื้นบ้านอีสาน หมอยาสมุนไพร การแกะและสลักลาย การถนอมอาหาร การหาปลา การประดิษฐ์เครื่องมือการเกษตร การประดิษฐ์เครื่องใช้ภายในครัวเรือน ฯลฯ

ข้อมูลเพิ่มเติม Click
อ้างอิง http://ictnayao.multiply.com/journal/item/3/3

.............................................................................................

ไม่มีความคิดเห็น:

Games

Download

blog

Click here for download SN

Click here for download SN


Username:EAV-26719184
Password:2udmtejssf

Username:EAV-26719185
Password:c4mts8j2hv

Username:EAV-26719272
Password:4hdnkvetjs

Username:EAV-26719269
Password:3cm4u3sm8j

Username:EAV-26719281
Password:r44t3schtm

Username:EAV-26719183
Password:6dmvxd8af4

Username:EAV-26719275
Password:mcmrdjppb4

Username:EAV-26719235
Password:jm8mafrctu

Username:EAV-26719237
Password:a2n273rrar

Username:EAV-26719187
Password:jpkpm4unjr


Username:EAV-26698641
Password:ecnmnk32nm

Username:EAV-26698639
Password:33nu2vekkx

Username:EAV-26698638
Password:ptfn35eduh

Username:EAV-26698600
Password:dmajjh4m7e

Username:EAV-26698640
Password:uhfkuxr5vc

Username:EAV-26698598
Password:7xampnrv6k

Username:EAV-26697979
Password:4ppjt4jn4m

Username:EAV-26697973
Password:x3ae7tvuj5

Username:EAV-26698687
Password:4vasmabav5

Username:EAV-26698648
Password:v8cvamn2vm

Username:EAV-26665237
Password:5j5tcrjeku

Username:EAV-26665232
Password:7dv2ufk6sx

Username:EAV-26665258
Password:2ump8ca832

Username:EAV-26665234
Password:7hnmjc8c57

Username:EAV-26665239
Password:b85r7kt6mp

Username:EAV-26665235
Password:jpvsj68jtk

Username:EAV-26614315
Password:68d2chcnb7

Username:EAV-26614307
Password:uuxxude6rs

Username:EAV-26609624
Password:r434nxjb2n

Username:EAV-26608719
Password:ud6srs7ua3

Username:EAV-26614325
Password:nasumekuue

Username:EAV-26614318
Password:p5k365nj4f

Username:EAV-26611352
Password:e3f24khs6b

Username:EAV-26614308
Password:8366t7ecf8

Username:EAV-26614321
Password:axt4xr2ftr

Username:EAV-26610562
Password:8njxr4rj52

Username:EAV-26580436
Password:vf8ub2n5kd

Username:EAV-26580364
Password:jmjercfrmv

Username:EAV-26580360
Password:6bkn5nucj8

Username:EAV-26580355
Password:dscpe78rr5

Username:EAV-26580441
Password:m2ftxfapdh

Username:EAV-26580440
Password:at8mxnahn4

Username:EAV-26580358
Password:xmksatjmhd

Username:EAV-26580356
Password:8a6eb8j84j

Username:EAV-26580394
Password:enxm4k6e4a

Username:EAV-26580416
Password:ehps55jp8x

Username:EAV-26535014
Password:n6tnjt7ujf

Username:EAV-26534185
Password:fnhjtncbsa

Username:EAV-26534056
Password:u5fp6ubd6k

Username:EAV-26535017
Password:823rcfhrbr

Username:EAV-26535060
Password:2eummb33d2

Username:EAV-26535106
Password:k2fsk3bbmf

Username:EAV-26534183
Password:a3hn3t3mse

Username:EAV-26534129
Password:kj8jxj7a7f



UserName: TRIAL-15435988
PassWord: r24vb7tnxj
Version: ESS, EAV, 2.*


UserName: TRIAL-15435992
PassWord: 5c3nxvf337
Version: ESS, EAV, 2.*


UserName: EAV-14985706
PassWord: psr4vffvr3
Version: ESS, EAV, 2.*


UserName: EAV-15222975
PassWord: u4x5vrf4sp
Version: EAV, 2.*


UserName: EAV-15222645
PassWord: rkmkjxfbda
Version: EAV, 2.*


UserName: EAV-15369734
PassWord: vj2j58be4p
Version: EAV, 2.*


Say love more language

ฉันรักเธอ” I love you

-`’- พม่า เรียกว่า จิต พา เด (chit pa de)

-`’- เขมร เรียกว่า บอง สรัน โอน (Bon sro Iahn oon)

-`’- เวียดนาม เรียกว่า ตอย ยิ่ว เอ๋ม (Toi yue em)

-`’- มาเลเซีย เรียกว่า ซายา จินตามู (Saya cintamu)

-`’- อินโดนีเซีย เรียกว่า ซายา จินตา ปาดามู (Saya cinta padamu)

-`’- ฟิลิปปินส์ เรียกว่า มาฮัล กะ ตา (Mahal ka ta)

-`’- ญี่ปุ่น เรียกว่า คิมิ โอ ไอ ชิเตรุ (Kimi o ai X eru)

-`’- เกาหลี เรียกว่า โน รุย สะรัง เฮ (No-rui sarang hae)

-`’- เยอรมัน เรียกว่า อิคช์ ลิบ ดิกช์ (Ich Liebe Dich)

-`’- ฝรั่งเศส เรียกว่า เฌอแตม (Je taime)

-`’- ฮอลแลนด์ (ดัชต์) เรียกว่า อิค เฮา ฟาวน์ เยา (Ik hou van jou)

-`’- สวีเดน เรียกว่า ย็อก แอลสการ์ เด (Jag a Lskar dig)

-`’- อิตาลี เรียกว่า ติ อโม (Ti amo)

-`’- สเปน เรียกว่า เตอ เควียโร (Te quiero)

-`’- รัสเซีย เรียกว่า ยาวาส ลุยบลิอู (Ya vas Liubliu)

-`’- โปรตุเกส เรียกว่า อโม-เท (Amo-te)

-`’- จีนกลาง เรียกว่า หว่อ อ้าย หนี่ (Wo ai ni)

-`’- จีนแต้จิ๊ว เรียกว่า อั๊ว เซี๊ยะ หลื่อ (Auo Seaa Laue)

-`’- จีนแคะ เรียกว่า ไหง อ้อย หงี (Ngai oi ngi)

-`’- ฮกเกี้ยน เรียกว่า อั๊ว นาย ลู่ (Auo ai Lu)

-`’- ตุรกี เรียกว่า เซนี เซวีโยรัม (Seni Seviyorum )

มาบอกรักคืนด้วยนะ... เหอๆๆๆ